Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับตำบล
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไป
สภาพสังคม
สภาพเศรษฐกิจ
บริการขั้นพื้นฐาน
ผลิตภัณฑ์ในตำบล (OTOP)
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์
โครงสร้างองค์กร
บทบาทหน้าที่
แผนพัฒนาท้องถิ่น
บุคลากร
ท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี
กลุ่มงานบริหารทั่วไป
กลุ่มงานมาตรฐานฯ
กลุ่มงานส่งเสริมฯ
กลุ่มงานการเงิน
กลุ่มงานกฎหมาย
ท้องถิ่นอำเภอ
งานบริหารบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มติ ก.ท.จ.ปราจีนบุรี
มติ ก.อบต.จังหวัดปราจีนบุรี
ประกาศ ก.ท.จ.ปราจีนบุรี
ประกาศ ก.อบต.จังหวัดปราจีนบุรี
ศูนย์ข้อมูลการสรรหาตำแหน่งสายงานผู้บริหาร รอบตุลาคม 2567
ITA
ITA ปี พ.ศ. 2563
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ของราชการสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี
ข่าวประชาสัมพันธ์
ดัชนีรวม / ดัชนีประจำแฟ้ม
ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 7
โครงสร้างองค์กร ม.7(1)
อำนาจหน้าที่ ม.7(2)
สถานที่ติดต่อ ม.7(3)
กฏ มติ คณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง ม.7(4)
ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9
ผลการพิจารณาฯ ม.9(1)
นโยบายหรือการตีความ ม.9(2)
แผนงาน โครงการ งบประมาณ ม.9(3)
คู่มือหรือคำสั่ง ม.9(4)
สิ่งพิมพ์ที่อ้างถึง ม. 7 วรรคสอง ม.9(5)
สัญญาสัมปทาน ผูกขาด ร่วมทุน ม.9(6)
มติ ครม. หรือมติคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย หรือ มติ ครม. ม.9(7)
ข้อมูลข่าวสารอื่นที่คณะกรรมการกำหนด ม.9(8)
ข่าวสารเครือข่าย
ข่าวประชาสัมพันธ์เครือข่าย
ข่าวกิจกรรมเครือข่าย
ปฏิทินกิจกรรมเครือข่าย
ข่าวรับสมัครโอน/ย้ายเครือข่าย
สินค้า OTOP เครือข่าย
ระเบียบ
หนังสือสั่งการ สถ.
พรบ./พรก.
กฎระเบียบกระทรวง
คำสั่ง สถ.
มติ ก. เทศบาล
มติ ก. อบต.
ข้อบัญญัติ
รายรับรายจ่าย
รายงานการประชุม
ติดต่อเรา
ติดต่อหน่วยงาน
แผนที่ดาวเทียม
คู่มือประชาชน



หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผลิตภัณฑ์ในตำบล (OTOP)
Responsive image
จังหวัดปราจีนบุรี มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และการละเล่นพื้นเมืองที่สำคัญ ที่นิยมปฏิบัติสืบทอดกันมา แต่โบราณจนถึงปัจจุบัน คือ
1. งานเทศกาลมาฆปูรมีศรีปราจีน งานนี้จัดขึ้นที่วัดสระมรกต ในบริเวณโบราณสถานสระมรกต อำเภอศรีมโหสถ เป็นระยะเวลา 3 วัน ซึ่งตรงกับวันมาฆบูชา
ของทุกปี ในงานกิจกรรมหลักคือ การเข้าค่ายพุทธศาสน์และปลูกจิต สำนึกทางศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียน นักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป การประชุม
พระภิกษุและพระสังฆาธิการ ในจังหวัด การปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา กิจกรรมการเวียนเทียนรอบรอยพระพุทธบาทคู่
2. งานประเพณีการแข่งเรือยาว จัดเป็นงานประจำมาตั้งแต่ พ.ศ. 2528 โดยจัดที่แม่น้ำบางปะกง หรือแม่น้ำปราจีนบุรี บริเวณสะพานณรงค์ดำริ ถึงหน้าวัดหลวงปรีชากูล อำเภอเมืองปราจีนบุรี แต่เดิมมีการแข่งขันเรือเพียง 2 ประเภท คือ ประเภทใบพาย 2 ด้าน ซึ่งมี 15-19 ฝีพาย และแบบ 35 ฝีพาย ต่อมาเมื่อปี 2538
มีการแข่งขัน 4 ประเภท คือ แบบ 15-19 ฝีพาย, แบบ 30 ฝีพาย, แบบ40 ฝีพาย, และแบบ 55 ฝีพาย ผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับถ้วยพระราชทาน จากสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งการแข่งขันได้รับความสนใจจากจังหวัดต่าง ๆ ทั้งภาคเหนืออีสาน และกลาง ได้ส่งเรือมาร่วมแข่งขันกับทางจังหวัดปราจีนบุรี
ปกติงานนี้จัดในช่วงเดือนกันยายน หรือเดือนตุลาคม ของทุกปี แล้วแต่ความสูงของระดับน้ำ
3. งานวันเกษตร และของดีเมืองปราจีน จัดที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด ในช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน ของทุกปี นอกจากเกษตรกรจะนำผลผลิต
มาจำหน่ายแล้ว ยังมีกิจกรรมการประกวดต่าง ๆ เช่น การประกวดคุณภาพผลไม้ ผลไม้ที่ใหญ่ที่สุด เช่น ขนุนผลใหญ่ที่สุด ทุเรียนผลใหญ่ที่สุด กระท้อนผลใหญ่ที่สุด
ผักยาวที่สุด เช่น บวบ ถั่วฝักยาว ในงานนี้ยังมีขบวนแห่รถที่ประดับตกแต่งด้วยผลิตผลทางการเกษตร และในบางปียังมีการประกวดธิดาเกษตรด้วย
4. งานประเพณีการทำบุญบั้งไฟ งานนี้จัดขึ้นที่วัดต้นโพธิ์ อำเภอศรีมโหสถ ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ซึ่งจัดมา ได้ประมาณ 50 ปีมาแล้วผู้ที่ริเริ่มในการจัด คือ
พระครูวิมลโพธิเขต (จำปา ธมมกาโม) เจ้าคณะตำบลโคกปีบ กิจกรรมของงาน ได้แก่ การประกวดจุดบั้งไฟที่ขึ้นนานที่สุด มีการรำเซิ้งบั้งไฟเพื่อขอฝน การประกวด
ขบวนรำเซิ้ง ซึ่งจะมีคณะกรรมการจากหมู่บ้านต่าง ๆ ในจังหวัดและต่างจังหวัด เช่น สระแก้ว ยโสธร เป็นต้น
5. งานประเพณีลอยกระทง จัดกิจกรรมการลอยกระทงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี มาตั้งแต่โบราณการ จนถือเป็นประเพณีสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
การจัดงานประเพณีลอยกระทงของจังหวัดปราจีนบุรี จัดที่ท่าน้ำหน้าที่ว่า การอำเภอเมืองปราจีนบุรี กิจกรรมต่าง ๆ ในงาน ได้แก่ การประกวดกระทงประเภทสวยงามและประเภทความคิด และยังมีการแสดงบนเวทีของหน่วยงานและสถานศึกษาต่าง ๆ
โพสเมื่อ : 24 ก.พ. 2565